Phones
หน้าแรก
Stock
เศรษฐกิจมหภาค
แบงก์ - Finance
อสังหาริมทรัพย์ - Marketing
ประกัน - ท่องเที่ยว
Variety
สกู้ป พิเศษ
SET
CH ครึ่งปีหลังยังดี เดินเกมระมัดระวังในภาวะตลาดโลกผันผวน
MAI
IMH เปิดศูนย์ MRI รพ. IMH สีลม หวังครองแชมป์ย่านสีลม–สาทร
IPO
MASTEC ปิดโรดโชว์ 10 จังหวัด ลุย IPO 79 ล้านหุ้น
บล./บลจ
โกลเบล็ก คัด 5 หุ้นเด่นเด้ง “เที่ยวไทยคนละครึ่ง”
เศรษฐกิจ-การเงิน-การคลัง
SCB EIC ลุ้นกนง.หั่นดอกเบี้ยสู่ 1.25% หลังศก.ไทยยังเผชิญความเสี่ยง
การค้า - พาณิชย์
คต. จัดคอร์สเสริมความรู้ผู้ส่งออกการตรวจสอบถิ่นกำเนิดสินค้า
พลังงาน - อุตสาหกรรม
GULF เดินหน้าพัฒนาท่าเรือมาบตาพุด ระยะที่ 3
คมนาคม - โลจิสติกส์
SJWD ชูโซลูชันโลจิสติกส์ รับมือปิดด่านเขมร
แบงก์ - นอนแบงก์
ยูโอบี จับมือ เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ เสริมแกร่งการลงทุนอาเซียน
ไฟแนนซ์ - ลิสซิ่ง
คาร์ฟอร์แคช ส่งบริการใหม่ “รับเงินไวสุดใน 1 ชั่วโมง”
SMEs - Startup
KBTG เดินหน้าจัดงาน ‘KBTG Techtopia’ ปีที่ 3
ประกันภัย - ประกันชีวิต
เมืองไทยประกันชีวิต ส่งมอบโครงการปรับปรุงศูนย์กุมารเวชศาสตร์โรคหัวใจ รพ.จุฬาลงกรณ์ฯ
รถยนต์
นิสสัน ปรับปรุงสายการผลิตในไทย เสริมแกร่งการแข่งขันด้านต้นทุน
ท่องเที่ยว
VRANDA ชี้ท่องเที่ยวส่งสัญญาณฟื้นตัว เด้งรับ ‘เที่ยวคนละครึ่ง’
อสังหาริมทรัพย์
ORN ครึ่งปีหลัง 68 โตต่อเนื่อง ลุยเปิด 2 โปรเจ็กต์ใหม่
การตลาด
TCL ยกทัพนวัตกรรมทีวี ‘C Series’ QD Mini LED บุกทั่วไทย
CSR
KBTG เดินหน้าจัดงาน ‘KBTG Techtopia’ ปีที่ 3
Information
EXIM BANK บันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
Gossip
MENA หุ้นโลจิสติกส์ ผลงานเจ๋ง!
Entertainment
TCL เปิดแคมเปญ “CALRITY CHALLENGE"
สกุ๊ป พิเศษ
PTG แกร่งทุกมิติ ชู Non-Oil เรือธง
KBANK แนะลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ลดความเสี่ยงตลาดผันผวน
2022-03-24 17:00:58
383
sharer
นิวส์ คอนเน็คท์ - KBANK สั่งจับตาแรงกดดันจาก 3ปัจจัยส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก แนะนำปรับพอร์ตลงทุนที่ให้ผลตอบแทนชนะเงินเฟ้อ ด้วยการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย หรือกระจายความเสี่ยงด้วยทองคำ และจับจังหวะดอกเบี้ยขาขึ้นโดยลงทุนในกลุ่มธุรกิจหรือกองทุนรวม เช่น กลุ่มสถาบันการเงิน กลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2565 ดร. พิพัฒน์พงศ์ โปษยานนท์ กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) หรือ KBANK เปิดเผยว่า การลงทุนในปีนี้เป็นปีที่ท้าทายจากแรงกดดัน 3 ปัจจัยสำคัญคือ 1) กำลังการผลิตยังไม่กลับมาสู่ภาวะปกติ ภาคการผลิตยังได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด ไม่สามารถดำเนินการผลิตได้เต็มกำลัง ประกอบกับความต้องการสินค้าเพิ่มสูงขึ้นจากการเปิดประเทศ 2) การปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมันโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นจากความต้องการที่มากขึ้น ในขณะที่กำลังการผลิตมีจำกัด ส่งผลต่อภาวะเงินเฟ้อในระดับสูงจากราคาน้ำมันตลาดโลกปรับตัวอย่างผันผวน (Stagflation)
3) สถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ยังเห็นการใช้กำลังปะทะกันต่อเนื่อง และล่าสุด ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (EU) กำลังพิจารณาคว่ำบาตรน้ำมันรัสเซียตามรอยสหรัฐ เป็นประเด็นที่ต้องติดตามเพราะหลายประเทศในยุโรปจำเป็นต้องพึ่งพานำเข้าพลังงานน้ำมัน
“ด้านที่กระทบต่อเศรษฐกิจไทยมากที่สุดคือ เงินเฟ้อพุ่ง ของแพง ต้นทุนพลังงาน ต้นทุนธุรกิจสูง ในขณะที่ตลาดเงินตลาดทุนของไทยมีความผันผวนมากขึ้น ควรปรับแนวทางการลงทุนเพื่อหาผลตอบแทนที่ชนะเงินเฟ้อ โดยทยอยลงทุนแบบถัวเฉลี่ย (DCA) หรือกระจายความเสี่ยงด้วยทองคำภายใต้สัดส่วน 5-10% และในช่วงดอกเบี้ยขาขี้น ควรลงทุนในกลุ่มธุรกิจหรือกองทุนรวม เช่น กลุ่มสถาบันการเงิน กลุ่มสินค้า โภคภัณฑ์” ดร.พิพัฒน์พงศ์ กล่าว
CH ครึ่งปีหลังยังดี เดินเกมระมัดระวังในภาวะตลาดโลกผันผวน
NL สอยงานใหม่เข้าพอร์ต Backlog ทะลุ 2.5 พันล. - PRAPAT ขยายตลาดบังคลาเทศ
NL คว้างานใหม่ 2 โครงการ หนุน Backlog ทะลุ 2.5 พันล.
TEGH ผงาด! ติดอันดับ Fortune Southeast Asia 500 ปี 2025
BANPU รุกลงทุนแบตเตอรี่ในออสเตรเลีย - DOD เทรนด์รักสุขภาพโตต่อ หนุนรายได้ปีนี้ 800 ล.
BANPU รุกลงทุนโครงการแบตเตอรี่ในออสเตรเลีย 350 เมกะวัตต์